พระพุทธรูป ทอง เหลิอง 15 นิ้ว พระพุทธรูป 9 นิ้ว ทองเหลือง พระบูชาหลวงพ่อโสธร 249 7 พระพุทธโสธรพระพุทธโสธร พระพุทธรูปหลวงพ่อโสธร พระพุทธโสธร หน้าตัก 5 นิ้ว ขนาด 5 นิ้ว กว้าง 10 cm ยาว 18 cm สูง 24 cm น้ําหนัก ทอง 2 กิโลกรัม พระพุทธโสธร หน้าตัก 5 นิ้ว ขนาด 5 นิ้ว กว้าง 10 cm ยาว 18 cm สูง 24 cm น้ําหนัก ทอง 2 กิโลกรัม พระพุทธโสธร หลวงพ่อโสธร หรือ หลวงพ่อพระพุทธโสธร เป็น พระพุทธรูป สําคัญของ จังหวัดฉะเชิงเทรา ประดิษฐานอยู่ในพระอุโบสถ วัดโสธรวรารามวรวิหาร อําเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทราข้อมูลจากการตรวจสอบภายในหลวงพ่อโสธรโดยกรมศิลปากร พบว่าหลวงพ่อโสธรประกอบขึ้นจากหินทรายแปดชิ้น แล้วพอกปูนทับเป็นองค์ จากวัสดุที่ใช้ และพุทธศิลป์พบว่าเป็นศิลปะอยุธยาตอนต้น หลวงพ่อโสธร เป็นพระพุทธรูป ปางสมาธิ คือมีพระอิริยาบถนั่งขัดสมาธิราบพระชงฆ์ขวาทับพระชงฆ์ซ้าย พระหัตถ์ขวาทับพระหัตถ์ซ้ายวางซ้อนกันอยู่บนพระเพลาปัจจุบันประดิษฐานอยู่ในพระอุโบสถหลวง วัดโสธรวราราม จังหวัดฉะเชิงเทรา ตํานานหลวงพ่อโสธรนั้นตํานานไม่ได้กล่าวไว้ว่าใครเป็นผู้สร้างหรือสร้างเมื่อใด ทราบตามที่เล่าต่อๆกันมาแต่เพียงว่า ในจังหวัดหนึ่งทางภาคเหนือของไทย มี พระภิกษุ สามองค์พี่น้อง เรียน พระธรรมวินัย แตกฉานแล้วก็จําแลงกายเป็น พระพุทธรูป เมื่อมาถึงบริเวณหนึ่งก็ปรากฏองค์ขึ้นชาวบ้านบริเวณนั้นพบเข้าก็พากันเอาเชือกมนิลามาฉุดขึ้น แต่ก็เอาขึ้นมาไม่ได้เพราะเชือกขาดก่อนที่พระทั้งสามองค์จะจมหายไปบริเวณที่พระทั้งสามองค์ลอยทวนน้ําหนีนั้นเรียกว่า สามพระทวน ต่อมาได้เพี้ยนและเรียกว่า สัมปทวน อําเภอเมือง ฉะเชิงเทรา จนทุกวันนี้ จวบจนองค์หนึ่งได้ลอยไปจนถึง แม่น้ําแม่กลอง วัดหงษ์ เล่ากันว่า ที่วัดนี้เดิมมีเสาใหญ่มีหงษ์ทําด้วยทองเหลืองอยู่บนยอดเสานั้นจึงได้ชื่อว่า ต่อมาหงษ์ที่ยอดเสาหักตกลงมาเสียชํารุดทางวัดจึงเอาธงไปติดไว้ที่ยอดเสาแทนรูปหงษ์ จึงได้ชื่อว่า แล้วต่อมาก็เกิดมีพายุพัดเสานี้หักลงส่วนหนึ่งจึงได้ชื่อว่า และต่อมาชื่อนี้ได้กลายไปเป็น วัดโสธร ประชาชนพลเมืองจํานวนมากได้พากันหลั่งไหลมาอาราธนาฉุดขึ้นฝั่งแต่ก็ไม่สําเร็จขณะนั้นมีอาจารย์ผู้ทรงคุณวิเศษผู้รู้คนหนึ่งสําเร็จไสยศาสตร์หรือเทพไสยรู้หลักและวิธีอาราธนาจึงได้ทําพิธีปลูกศาลเพียงตาบวงสรวง กล่าวคําอัญเชิญชุมนุมเทวดาอาราธนาและได้ใช้สายสิญจน์คล้องที่พระหัตถ์ของพระพุทธรูปก่อนจะค่อยฉุดลากขึ้นมาบนฝั่งพระพุทธรูปจึงเสด็จขึ้นมาบนฝั่งเป็นที่ปิติยินดีเป็นอย่างยิ่งของชาวเมืองจึงได้พร้อมใจกันอัญเชิญไปประดิษฐานไว้ที่ในพระวิหารวัดโสธร และเรียกนามว่า พระพุทธโสธร หรือ หลวงพ่อโสธร ตั้งแต่นั้นมา